ลงประกาศฟรี ลงโฆษณาฟรี โปรโมทสินค้าฟรี ซื้อ ขาย เช่า บริการ ลด แลก แจก แถม

หมวดหมู่ทั่วไป => ลงประกาศฟรี ลงโฆษณาฟรี โปรโมทสินค้าฟรี ซื้อ ขาย เช่า บริการ ลด แหล่งรวม ลงประกาศฟรี ลงโฆษณาฟรี โปรโมทสินค้าฟรี ซื้อ ขาย เช่า บริการ => ข้อความที่เริ่มโดย: siritidaphon ที่ วันที่ 12 มีนาคม 2024, 14:57:57 น.

หัวข้อ: บริหารจัดการอาคาร: ท่อแต่ละประเภทและคุณสมบัติต่าง ๆ ที่ควรรู้
เริ่มหัวข้อโดย: siritidaphon ที่ วันที่ 12 มีนาคม 2024, 14:57:57 น.
หากคุณกำลังต้องการเลือกซื้อท่ออยู่อย่าพึ่งรีบตัดสินใจ คุณควรจะรู้ว่าท่อมีกี่ประเภท และ ใช้งานต่างกันอย่างไรก่อนที่จะเลือกใช้ท่อแต่ละชนิด วันนี้ทีมงาน Paiboonpi pe รวบรวมข้อมูลท่อต่าง ๆ มาให้คุณแล้ว



1. ท่อ PVC (Poly Vinyl Chloride)

ท่อ PVC เป็นท่อที่พวกเราคุ้นหูและใช้งานกันเป็นประจำอยู่แล้วแต่รู้หรือไม่ท่อ PVC นั้นแบ่งประเภทตามการใช้งานได้อีก 3 ประเภทด้วยกันคือ

    สีฟ้า เป็นท่อ PVC ที่ใช้สำหรับของเหลว เช่น น้ำเป็นต้นเพราะสามารถทนแรงดันน้ำได้สูง นิยมนำมาใช้ในงานสุขาภิบาล
    สีเทา เป็นท่อ PVC สำหรับระบายน้ำทางการเกษตร หรือน้ำเสีย ที่ไม่มีแรงดันน้ำมากนักเพราะไม่แข็งแรง
    สีเหลือง เป็นท่อ PVC ที่สามารถทนความร้อนได้เป็นอย่างดีเหมาะสำหรับใช้เดินสายไฟ หรือ สายโทรศัพท์เพื่อป้องกันการเสียหายของสาย แต่ต้องใช้ภายในอาคารหรือที่ร่มเท่านั้น

 
2. ท่อประปาเหล็กอาบสังกะสี

ท่อประปาเหล็กอาบสังกะสี ทำจาก เหล็กที่ผ่านการอาบสังกะสี ตรงตามชื่อ สามารถทำเ กลียวได้ง่าย ท่อเหล็กอาบสังกะสี สามารถทำเ กลียวได้ง่าย มีจุดเด่นคือทนทาน แข็งแรง รับแรงกระแทกได้

 
3. ท่อไซเลอร์

ท่อไซเลอร์ ภายนอกจะเ ป็นท่อเหล็ก GSP. ทำให้มีความแข็งแรง รับน้ำหนักได้ดี ไม่หักงอ ส่วนภายในจะเป็น ท่อ PE. (polyethyl ene) ซึ่งมีความสะอาดและปลอดภัยเป็นอันดับต้นๆ ถ้าเทียบกับตระกูลพลาสติกต่าง ๆ  ทน ต่อความดันได้มากกว่า 20 บาร์ และอุณหภูมิสูง ถึง 90 องศา ไม่เป็นสนิม เหมาะสำหรับ ใช้ติดตั้งใน โรงแรม อาคารขนาด ใหญ่ สถานที่ ๆ ที่ต้องการความทนทานสูง หรือสถานที่ ที่ยากต่อการซ่อมแซม แต่ท่อชนิดนี้มีราคาสูงเมื่อเทียบกับท่อชนิดอื่น

 
4. ท่อ HDPE

ท่อ HDPE – High Density Poly Ethylene ท่อโพลีเอทิลีน เป็นท่อพลาสติกอีกหนึ่งชนิด ซึ่งมีทั้งที่นำไปใช้เป็นท่อน้ำ และท่อร้อยสายไฟ มีความยืดหยุ่นสูงแต่ไม่สามารถนำมาใช้งานระบบน้ำร้อนได้ เหมาะสำหรับงานระบบประปาที่ฝั่งอยู่ใต้ดิน เพราะหากมีการทรุดตัวของดินไปกดทับท่อจะไม่ทำให้ท่อแตก




บริหารจัดการอาคาร: ท่อแต่ละประเภทและคุณสมบัติต่าง ๆ ที่ควรรู้ อ่านบทความเพิ่มเติมคลิ๊กที่นี่ https://snss.co.th/dt_post/technical-services/ (https://snss.co.th/dt_post/technical-services/)